สื่อวิทยุ-โทรทัศน์กับผู้บริโภคและสังคม

  • 64. สื่อมีบทบาทในสังคมอย่างไรบ้าง
    64. สื่อมีบทบาทในสังคมอย่างไรบ้าง
    “สื่อ” ถือเป็นกระจกสะท้อนสภาพของสังคม เปรียบเสมือนเครื่องมือที่มีบทบาทสำคัญต่อการสร้างค่านิยม เจตคติ การรับรู้ของประชาชนในสังคม และมียังผลต่อการสร้างอัตลักษณ์ของชาติ สื่อนำเสนอข้อมูลข่าวสารออกมา
    Jan 25.2017
  • 65. เสรีภาพสื่อได้รับการคุ้มครองอย่างไร
    65. เสรีภาพสื่อได้รับการคุ้มครองอย่างไร
    สิทธิเสรีภาพสื่อได้ถูกรับรองใน มาตรา 46 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ซึ่งพนักงานหรือลูกจ้างของเอกชนที่ประกอบกิจการหนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หรือสื่อมวลชนอื่น
    Jan 30.2017
  • 66. สื่อต้องมีความรับผิดชอบหรือไม่
    66. สื่อต้องมีความรับผิดชอบหรือไม่
    สื่อวิทยุ-โทรทัศน์ มีความรับผิดชอบอยู่ด้วยกัน 2 ระดับ คือ การรับผิดชอบที่ต้องทำหรือไม่ทำตามที่กฎหมายกำหนด และสิ่งที่นอกเหนือจากที่กฎหมายกำหนดเป็นเรื่องของมาตรฐานทางจริยธรรม ในทางกฎหมาย
    Jan 30.2017
  • 67. เนื้อหาใดที่ไม่อนุญาตให้ออกอากาศ
    67. เนื้อหาใดที่ไม่อนุญาตให้ออกอากาศ
    เนื้อหาที่ถือว่าผิดกฎหมายของสื่อวิทยุ-โทรทัศน์โดยตรง ไม่สามารถนำมาออกอากาศได้ คือ เนื้อหาที่ก่อให้เกิดการล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือที่มีผลกระทบ
    Jan 30.2017
  • 68. กฎหมายอื่นๆ ห้ามรายการหรือการโฆษณาอะไรบ้าง
    68. กฎหมายอื่นๆ ห้ามรายการหรือการโฆษณาอะไรบ้าง
    นอกจากกฎหมายที่กำหนดเฉพาะเกี่ยวกับการออกอากาศรายการของสื่อวิทยุ-โทรทัศน์แล้ว สื่อยังต้องปฏิบัติตามกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย ทั้งที่เป็นเรื่องของการโฆษณาอาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ
    Jan 30.2017
  • 69. พูดภาษาไทยไม่ชัด ออกอากาศได้หรือไม่
    69. พูดภาษาไทยไม่ชัด ออกอากาศได้หรือไม่
    กฎหมายที่กำหนดให้ทุกคนที่จะพูด อ่าน และประกาศทางสถานีวิทยุ-โทรทัศน์ จะต้องผ่านการทดสอบและได้ใบผู้ประกาศก่อนนั้นได้ถูกยกเลิกไปแล้ว ตอนนี้ กสทช. อยู่ระหว่างการพิจารณากำหนดนโยบายให้ผู้สนใจขอทดสอบ
    Jan 30.2017