สื่อวิทยุ-โทรทัศน์กับผู้บริโภคและสังคม
-
70. องค์กรวิชาชีพและผู้ประกอบวิชาชีพกระจายเสียงและโทรทัศน์ จะมีการกำกับดูแลกันเองอย่างไรเรื่องมาตรฐานทางจริยธรรมของผู้ประกอบการและผู้ประกอบวิชาชีพ เป็นการบูรณาการให้เกิดกลไกของความรับผิดชอบ โดยการจัดทำมาตรฐานทางจริยธรรมตามกฎหมาย เข้ากับกลไกรับเรื่องร้องเรียนจากประชาชนJan 30.2017
-
71. การเมือง เป็นเรื่องที่พูดในวิทยุ-โทรทัศน์ ได้หรือไม่สื่อวิทยุ-โทรทัศน์ จำนวนหนึ่งก่อตั้งขึ้นมาด้วยวัตถุประสงค์ทางการเมือง ซึ่งมุ่งเสนอเนื้อหาสาระทั้งที่เป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางการเมือง แต่บางแห่งก็เป็นการให้ข้อมูลเพียงด้านใดด้านหนึ่งJan 30.2017
-
72. ความเหมาะสมของเนื้อหาจะพิจารณาอย่างไรการจัดระดับความเหมาะสมของรายการกับกลุ่มผู้ชม เป็นเกณฑ์เบื้องต้นที่จะระบุช่วงวัยของผู้ชมที่เหมาะจะชมรายการนั้นๆ ทั้งนี้ก็เพื่อคุ้มครองเด็กและเยาวชน โดยสื่อโทรทัศน์จะต้องจัดทําผังรายการให้สอดคล้องJan 30.2017
-
73. เราจะคุ้มครองเด็กและเยาวชนจากรายการที่ไม่เหมาะสมอย่างไรสื่อส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่น แม้ว่าส่วนหนึ่งของละคร อาจเป็นเรื่องราวที่มาจากชีวิตจริง แต่เด็กและเยาวชนอาจมีภูมิคุ้มกันต่ำและไม่สามารถแยกแยะถูกผิดได้Jan 30.2017
-
74. เรื่องที่เป็นผลกระทบต่อสังคมในวงกว้างจะมีการกำกับดูแลอย่างไรอย่างที่ทราบดีว่า สื่อวิทยุ-โทรทัศน์ เข้าถึงคนได้ในวงกว้าง ดังนั้นเมื่อมีการจำกัดไม่ให้คนได้เข้าถึงเนื้อหาบางประเภท ก็จะทำให้เกิดกระแสของสังคมอย่างรวดเร็ว เช่น กรณี “จอดำ” ที่เกิดขึ้นJan 30.2017
Categories
Contact