การเอาเปรียบผู้บริโภค

  • 46. รู้ได้อย่างไรว่ามีการหลอกลวงหรือทำให้เข้าใจผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับบริการหรือสินค้า
    46. รู้ได้อย่างไรว่ามีการหลอกลวงหรือทำให้เข้าใจผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับบริการหรือสินค้า
    การโฆษณาทางวิทยุโทรทัศน์ที่จูงใจให้ผู้บริโภคเลือกใช้บริการหรือสินค้า ก็เป็นการเอาเปรียบผู้บริโภค ถ้าหากว่าการโฆษณานั้นเป็นการหลอกลวง ทำให้เราเข้าใจผิด หรือ มีการอ้างอิงรายงานทางวิชาการ สถิติ
    Jan 25.2017
  • 47. โฆษณาแฝงคืออะไร
    47. โฆษณาแฝงคืออะไร
    โฆษณาแฝง หมายถึง การปรากฏของผลิตภัณฑ์ หรือตราสินค้าและบริการ เข้าไปในส่วนที่เป็นเนื้อหารายการ ไม่ว่าจะเป็นรายการข่าว ละคร สารคดี เพลง เกมโชว์ เรียลลิตี้ ฯลฯ ซึ่งอาจเป็นความตั้งใจของผู้ผลิตรายการ
    Jan 25.2017
  • 48. รูปแบบของโฆษณาแฝงมีอะไรบ้าง
    48. รูปแบบของโฆษณาแฝงมีอะไรบ้าง
    โฆษณาแฝงทำกันหลายรูปแบบ เช่น แฝงสปอตสั้นมีทั้งภาพและเสียง มักใส่ไว้ต้นรายการ เช่น "สนับสนุนโดย..." แฝงภาพกราฟฟิค มักเป็นสัญลักษณ์ โลโก้ ตราสินค้า ปรากฎขึ้นหน้าจอหรือขอบจอ แฝงวัตถุหรือสถานที่
    Jan 25.2017
  • 49. ประเทศต่างๆ ดูแลโฆษณาแฝงหรือไม่
    49. ประเทศต่างๆ ดูแลโฆษณาแฝงหรือไม่
    การกำกับดูแลโฆษณาแฝงมีอยู่ 2 แนวทางที่แตกต่างกัน หลายประเทศไม่อนุญาตให้มีโฆษณาแฝง เพราะถือว่าไม่ตรงไปตรงมากับผู้บริโภค เพราะเจือสินค้าและบริการลงไปในเนื้อหา ทำให้คนขาดการระวัง แต่ก็ยังมีข้อยกเว้น
    Jan 25.2017
  • 51. การเอาเปรียบผู้บริโภคลักษณะอื่นๆ เรื่องการรับบริการมีอะไรอีกบ้าง
    51. การเอาเปรียบผู้บริโภคลักษณะอื่นๆ เรื่องการรับบริการมีอะไรอีกบ้าง
    หากเราต้องรับเลือกใช้บริการที่กฎหมายบอกว่าใช้อำนาจทางการตลาดเพื่อบังคับให้ต้องเลือกใช้บริการของตนอย่างไม่เป็นธรรม กีดกัน หรือต้องทำให้เรามีภาระมากขึ้น หรือต้องจ่ายเงินเพิ่มขึ้น เพื่อให้เราเข้าถึง
    Jan 25.2017
  • 52. ถ้าพบเห็นการเอาเปรียบผู้บริโภคควรทำอย่างไร
    52. ถ้าพบเห็นการเอาเปรียบผู้บริโภคควรทำอย่างไร
    กสทช. มีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายในการดำเนินการระงับการกระทำที่เป็นการเอาเปรียบผู้บริโภค ดังนั้น ถ้าพบเห็นการกระทำที่เป็นการเอาเปรียบผู้บริโภคตามเรื่องน่ารู้นี้ ก็สามารถร้องเรียนมายัง สำนักงาน กสทช.
    Jan 25.2017